โรคแพ้ภูมิตนเอง SLE

โรค SLE คืออะไร 


          โรค SLE นับว่าเป็นโรคแปลกประหลาดโรคหนึ่ง เนื่องจากผู้ป่วยมีโอกาสเกิดความผิดปกติขึ้นได้กับทุกๆ ระบบและทุกๆ อวัยวะของร่างกาย SLE เป็นกันได้ทุกเพศทุกวัย แต่มักจะพบในช่วงอายุ 20-45 ปี และพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 10 เท่า โดยเฉพาะจะพบมากในผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ด้วย


   จะสังเกตอาการด้วยตนเองอย่างไร 


มีผื่นหรือฝ้าแดง ขึ้นที่ข้างจมูกทั้งสองข้างเหมือนปีกผีเสื้อ
แพ้แสงแดด มีแผลในช่องปากและเพดานปาก
ผมร่วง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ชัก เกร็ง อ่อนแรง มีไข้ อ่อนเพลีย
ปัสสาวะเป็นฟอง
มีผื่นดำที่คล้ายแผลเป็นตามใบหู รูหู หนังศีรษะและบริเวณศอก
อาจมีอาการบวมๆ ยุบๆ ตามหนังตา  ขา เท้าหรือมือ
เม็ดเลือดขาวต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ โลหิตจาง
ตรวจพบผลบวกของซิฟิลิสในเลือด
มีโปรตีนรั่วในปัสสาวะ
อาจมีอาการเจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้าลึกๆ

   สาเหตุ SLE ในทัศนะการแพทย์จีน 


          การแพทย์จีนได้จัดโรค SLE ให้อยู่ในกลุ่มโรคที่เกิดจากเส้นลมปราณติดขัด (痹病) ภาวะพิษเย็น-ชื้นที่สะสมในร่างกายมากเกินไป พลังลมปราณและระบบการไหลเวียนของเลือดที่สมบูรณ์ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ร่างกายทำงานได้อย่างปกติ ถ้าหากเส้นลมปราณ หลอดเลือดหรือกล้ามเนื้อถูกทำลายจากพิษเย็น-ชื้นที่สะสม ก็จะส่งผลให้พลังลมปราณและเลือดไหลเวียนช้าลง จนเกิดการคั่ง นานวันเข้าร่างกายไม่สามารถปรับตัวรองรับได้อีก ระบบต่างๆ ของร่างกายจึงเกิดความแปรปรวน พร้อมทั้งแสดงอาการผิดปกติตามระบบต่างๆ นอกจากนี้ พิษร้อนจากแสงแดดที่แทรกเข้าไปทำลายสารเหลวต่างๆ ในร่างกายและระบบการไหลเวียนของเลือด ก็เป็นอีกสาเหตุสำคัญที่จะทำให้เป็น SLE ได้เช่นกัน

   วิธีบำบัดของการแพทย์จีน 


          เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ยาเคมีที่ใช้ควบคุมอาการ SLE ไม่ว่าจะเป็นยาสเตอรอยด์หรือยากดภูมิคุ้มกัน ต่างมีข้อจำกัดและผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยในหลายๆ ด้าน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การแพทย์จีนจึงนิยมหันมาใช้วิธีการบำบัดที่ต้นเหตุ ฟื้นฟูโดยองค์รวม ปรับความสมดุลของระบบภูมิคุ้มกัน ขจัดพิษเย็น-ชื้นที่สะสมในร่างกาย
          จากการวิจัยทดลองทางการแพทย์และเภสัชวิทยาในปัจจุบันพบว่า ยาสมุนไพรจีนที่อยู่ในรูปแบบของสารสกัดเป็นรูปแบบที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เนื่องจากสามารถสกัดและควบคุมสารออกฤทธิ์ได้อย่างเข้มข้นและแม่นยำ
อาการปวดข้อ ผื่นแดง แผลในปาก ผมร่วง นิ้วมือนิ้วเท้าซีดขาว กล้ามเนื้ออ่อนแรง ใจสั่น ต่อมน้ำเหลืองโต อาการบวมตามร่างกาย อาการทางจิตและอาการอื่นๆ ในผู้ป่วย SLE จึงค่อยๆ ทุเลาลง โรคพุ่มพวงซึ่งถือว่าเป็นโรคร้ายแรงในสายตาของผู้ป่วย จึงไม่น่ากลัวอีกต่อไป

ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
Qian Kun Nin   ยาแผนโบราณ ทะเบียนยาเลขที่ K 6/44


ชื่อผลิตภัณฑ์ :   Qian Kun Nin
เลขทะเบียน :   K 6/44
ขนาดบรรจุ :   120 เม็ด
ลักษณะยา :   ยาเม็ด
วิธีรับประทาน :   รับประทานวันละ 3 ครั้งๆ ละ 2-4 เม็ด ก่อนอาหาร
ส่วนประกอบสำคัญ :   Yanhusuo, Renshen, Jinyinhua, Fuling, Huangqi, Bohe, Huanglian, Zhizi, Sanleng
แพ้ภูมิตัวเอง, SLE, รูมาตอยด์, โรคพุ่มพวง, ตับอักเสบไวรัสบี, สะเก็ดเงิน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น